แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน"

ชื่อกระทู้: วันมาฆบูชา [สั่งพิมพ์]

โดย: Czasis    เวลา: 2014-2-10 14:44     ชื่อกระทู้: วันมาฆบูชา

วันมาฆบูชา/ Q; R0 i. ~# P8 A' i/ b
- v) H" F- p# v- _7 H; W" d, k

, ^) L2 P9 n* ^5 D4 [; h6 G5 X, f  p5 F; V' N$ S
ความหมายวันมาฆบูชา8 [! C3 {' f! x4 u0 I
วันมาฆบูชา หมายถึง การบูชา ในวันเพ็ญเดือน ๓ เนื่องในโอกาสคล้าย วันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์
8 F) @7 q) j9 u- }. |, O
9 W- M1 z1 e2 p3 n# M5 K4 h, xความสำคัญวันมาฆบูชา
, [4 w: n5 n# kวันมาฆบูชา เป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ มีเหตุการณ์อัศจรรย์ที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าจำนวน ๑,๒๕๐ รูป มาเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ โดยมิได้นัดหมายกันพระสงฆ์ ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์  m6 Q6 N5 n4 |/ P+ v7 k
, w* p( m+ |, b' X. u8 \
ผู้ได้อภิญญา ๖และเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบท โดยตรงจากพระพุทธเจ้า ในวันนี้พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ ในที่ประชุมสงฆ์เหล่านั้น ซึ่งเป็นทั้งหลักการอุดมการณ์และวิธีการปฏิบัติที่ นำไปใช้ได้ทุกสังคม มีเนื้อหา โดยสรุปคือให้ละ* Z/ e' y1 T0 d+ x( T' ~

% P" q+ S1 v) D2 Iความชั่วทุกชนิด ทำความดี ให้ถึงพร้อมและทำจิตใจให้ผ่องใส9 s: c" K. I) w$ C9 d3 f+ J

; G6 Y. ?! J/ O3 jประวัติความเป็นมาวันมาฆบูชา5 w) H* r. g2 D, o  v& S  q
๑. ส่วนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ ๙ เดือนขณะนั้นเมื่อเสร็จพุทธกิจแสดงธรรมที่ถ้ำสุกรขาตาแล้ว เสด็จมาประทับที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน วันนั้นตรงกับวันเพ็ญ เดือนมาฆะหรือเดือน
0 y0 y1 w4 K# o- `3 j
; e1 N1 F, o- B, h/ A+ O5 `๓ในเวลาบ่ายพระอรหันต์สาวกของพระพุทธเจ้า มาประชุม พร้อมกัน ณ ที่ประทับของพระพุทธเจ้า นับเป็นเหตุอัศจรรย์ ที่มีองค์ประกอบสำคัญ ๔ ประการ เรียกว่าว่า วันจาตุรงคสันนิบาต
+ `- Z$ h- r# |+ b- A! {4 N1 W; w$ U2 R3 |0 s) H
คำว่า "จาตุรงคสันนิบาต" แยกศัพท์ได้ดังนี้ คือ
7 w, h3 x( c! J# @" F5 v* N  \0 ?. j8 {4 b  n
"จาตุร" แปลว่า ๔ # F, d* N6 N( T
"องค์" แปลว่า ส่วน
7 u8 x/ D3 J% O& p! A"สันนิบาต" แปลว่า ประชุม ( M! {( P8 O. t; C+ P
ฉะนั้นจาตุรงคสันนิบาตจึงหมายความว่า "การประชุมด้วยองค์ ๔" กล่าวคือมีเหตุการณ์พิเศษที่เกิดขึ้นพร้อมกันในวันนี้ คือ. ?$ K, Q# d/ J3 F* @* M% R+ J/ U
3 Q* v, G7 C4 H
1. เป็นวันที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า จำนวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันที่เวฬุวันวิหารในกรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย# o3 y! O5 `# _7 T4 P( b7 L7 ^

( {: E# E' B) L; N2. พระภิกษุสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น# f* P* d5 v$ w/ I8 a1 t

& ]5 @, k" i9 V  p1 f8 p5 d3. พระภิกษุสงฆ์ทุกองค์ที่ได้มาประชุมในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็นผุ้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆองค์. x& h  D: A- I+ g

" N5 u- I1 m' _) S( \3 T4. เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวงกำลังเสวยมาฆฤกษ
. z$ C& i6 s% D7 ]! Q% m; h: E6 c+ h) Y0 `* {, K7 z
ประวัติวันมาฆบูชา
1 K9 x- Y) h0 a( z% @" g) s
! J2 I1 C) C. E7 a( Bมูลเหตุ
. ^/ ~- e1 f- B* L0 j! J1 B! oหลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 และได้ทรงประกาศพระศาสนาและส่งพระอรหันตสาวกออกไปจาริกเพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ ล่วงแล้วได้ 9 เดือน ในวันที่ใกล้พระจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (วันขึ้น 15 ค่ำ ! X8 e* q7 u0 B% Y4 z/ Q

' b& s$ {) s! V% Yเดือน 3) พระอรหันต์ทั้งหลายเหล่านั้นต่างได้ระลึกว่า วันนี้เป็นวันสำคัญของศาสนาพราหมณ์ อันเป็นศาสนาของตนอยู่เดิม ก่อนที่จะหันมานับถือพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า และในลัทธิศาสนาเดิมนั้นเมื่อถึงวันเพ็ญเดือนมาฆะ เหล่าผู้ศรัทธา
5 e, b7 ?5 Q+ `! x& T
+ }9 u( E/ [( L, O* W5 B7 Nพราหมณลัทธินิยมนับถือกันว่าวันนี้เป็นวันศิวาราตรี โดยจะทำการบูชาพระศิวะด้วยการลอยบาปหรือล้างบาปด้วยน้ำ แต่มาบัดนี้ตนได้เลิกลัทธิเดิมหันมานับถือพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าแล้ว จึงควรเดินทางไปเข้าเฝ้าบูชาฟังพระสัทธรรมจาก
# q2 e0 D7 e% Z5 v0 t" E1 ?& T
5 h) I& O! i- j4 |" kพระพุทธเจ้า พระอรหันต์เหล่านั้นซึ่งเคยปฏิบัติศิวาราตรีอยู่เดิม จึงพร้อมใจกันไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าโดยมิได้นัดหมาย1 W" n0 l# @8 h! z( K: i  G

' J7 _3 e' V. b  X: r/ i% Y$ }+ t  Eมีผู้กล่าวว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้พระสาวกทั้ง 1,250 องค์มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย มาจากในวันเพ็ญเดือน 3 ตามคติพราหมณ์ เป็นวันพิธีศิวาราตรี พระสาวกเหล่านั้นซึ่งเคยนับถือศาสนาพราหมณ์มาก่อนจึงได้เปลี่ยนจากการรวมตัว9 B; }9 m  v  j) i; E

) B/ S0 M4 b: Pกันทำพิธีชำระบาปตามพิธีพราหมณ์ มารวมกันเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าแทน
* ?$ h1 e# V! n0 R3 a8 ?- `$ O" ~9 E  e2 d$ u" P& P* E% N: x9 ^1 r
; H; J5 e! z5 H% J; s% E7 d

- v1 I+ Q( Y7 l  G' nโอวาทปาฏิโมกข์
- y8 r1 x/ S' d1 H8 }8 N% j  Tหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธพจน์ ๓ คาถากึ่ง ที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ รูป ผู้ไปประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ณ พระเวฬุวนาราม ในวันเพ็ญเดือน ๓ ที่เราเรียก3 j9 W" c$ K7 |4 e& @

6 L9 @" ]% A; c1 E/ Fกันว่าวันมาฆบูชา (ถรรถกถากล่าวว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์นี้ แก่ที่ประชุมสงฆ์ตลอดมา เป็นเวลา ๒๐ พรรษา ก่อนที่จะโปรดให้สวดปาฏิโมกข์อย่างปัจจุบันนี้แทนต่อมา), คาถาโอวาทปาฏิโมกข์ มีดังนี้ (โอวาทปาติโมกข์ ก็เขียน), ~( U0 R& [' x

$ Z3 M# w; S1 C7 D0 r. T0 pสพฺพปาปสฺส อกรณํกุสลสฺสูปสมฺปทา
  P$ v# [- p3 Pสจิตฺตปริโยทปนํเอตํ พุทธาน สาสนํฯ
* n. Y4 p+ B. h+ Q, m1 @& I: Aขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
* ~  S6 w, \7 f, ^# ~) ]9 d8 J1 Pนิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา
6 L; k( ?  B/ Y6 T' U& o: dน หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี4 P, F, {/ h0 L2 m
สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโตฯ
) X" f; h; }2 c* v7 R% M2 {# U. iอนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สํวโร7 L3 `/ x  A0 r+ W
มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺตญฺจ สยนาสนํ
) k% ]5 G+ o3 wอธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ
, |/ N, r8 F% L+ R1 A, p, e) J# l4 H0 v
แปล : การไม่ทำความชั่วทั้งปวง ๑ การบำเพ็ญแต่ความดี ๑ การทำจิตของตนให้ผ่องใส ๑ นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขันติ คือความอดกลั้น เป็นตบะอย่างยิ่ง, พระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่านิพพาน เป็นบรมธรรม, ผู้ทำร้ายคน
3 f1 x% P4 ?9 n7 G' f3 }
! b! V7 B6 B; V8 _- Fอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต,ผู้เบียดเบียนคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะการไม่กล่าวร้าย ๑ การไม่ทำร้าย ๑ ความสำรวมในปาฏิโมกข์ ๑ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร ๑ ที่นั่งนอนอันสงัด ๑ ความเพียรในอธิจิต ๑ นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้ง9 A3 v8 K3 C1 _' S

# ^$ E' \# x; M. n. ~* ^9 {7 r! Q+ rหลายที่เข้าใจกันโดยทั่วไป และจำกันได้มาก ก็คือ ความในคาถาแรกที่ว่า ไม่ทำชั่ว ทำแต่ความดี ทำจิตใจให้ผ่องใส3 W$ Q, f3 d' s' F: I0 Q# M
1 a6 \5 o; z6 j0 G( D7 b
สถานที่สำคัญเนื่องด้วยวันมาฆบูชา (พุทธสังเวชนียสถาน)! D7 L( x* Y- A- t- ?0 K6 t
4 A- k1 r0 r1 W# V3 }
พระพุทธรูปยืนกลางมณฑลมหาสังฆสันนิบาต ในโบราณสถานวัดเวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์ รัฐพิหาร อินเดีย (เป็นพระพุทธรูปสร้างใหม่ ปัจจุบันเป็นสถานที่จาริกแสวงบุญสำคัญของชาวพุทธทั่วโลก)เหตุการณ์สำคัญที่เกิดในวันมาฆบูชา เกิด8 P" H0 V; D) J& ~4 ~

3 X8 U; ~  D9 h- i5 kภายในบริเวณที่ตั้งของ "กลุ่มพุทธสถานโบราณวัดเวฬุวันมหาวิหาร" ภายในอาณาบริเวณของวัดเวฬุวันมหาวิหาร ซึ่งลานจาตุรงคสันนิบาตอันเป็นจุดที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชานั้น ยังคงเป็นที่ถกเถียงและหาข้อสรุปทาง
$ s/ w* \$ S8 D) Y7 M
9 [( H& Y5 a  Dโบราณคดีไม่ได้มาจนถึงปัจจุบัน* G5 a. g; X1 \, Y" [

  }$ I( P8 D  ]' v, _; `3 ]+ |วัดเวฬุวันมหาวิหาร2 p2 F6 m& k/ B& l7 S& K7 V
"วัดเวฬุวันมหาวิหาร" เป็นอาราม (วัด) แห่งแรกในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ใกล้เชิงเขาเวภารบรรพต บนริมฝั่งแม่น้ำสรัสวดีซึ่งมีตโปธาราม (บ่อน้ำร้อนโบราณ) คั่นอยู่ระหว่างกลาง นอกเขตกำแพงเมืองเก่าราชคฤห์ (อดีตเมืองหลวงของแคว้นมคธ) รัฐ  j3 e+ t4 Z! u; t* h
' @; k/ g+ T! }1 X! i5 E' w/ A3 D
พิหาร ประเทศอินเดียในปัจจุบัน (หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล)
5 q4 P4 h" Y; S4 \1 d. D' f% V3 Q0 j+ H2 [1 z/ q; ^- t% ^  H$ t1 h' i) B) {

* i9 O1 t9 U- j3 ^+ L4 m: s9 k. {5 `$ b6 q" n
วัดเวฬุวันในสมัยพุทธกาล* Q* V6 D! c; D, b' s+ I  q7 l" {
เดิมวัดเวฬุวันเป็นพระราชอุทยานสำหรับเสด็จพระพาสของพระเจ้าพิมพิสาร เป็นสวนป่าไผ่ร่มรื่นมีรั้วรอบและกำแพงเข้าออก เวฬุวันมีอีกชื่อหนึ่งปรากฏในพระสูตรว่า "พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน"หรือ "เวฬุวันกลันทกนิวาป" (สวนป่าไผ่
( v# L( H. P, C6 p
. M  L" X  _9 P) q% Q! aสถานที่สำหรับให้เหยื่อแก่กระแต) พระเจ้าพิมพิสารได้ถวายพระราชอุทยานแห่งนี้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาหลังจากได้สดับพระธรรมเทศนาอนุปุพพิกถาและจตุราริยสัจจ์ ณ พระราชอุทยานลัฏฐิวัน (พระราชอุทยานสวนตาลหนุ่ม) โดยในครั้งนั้น
  {8 M5 i4 F3 R! x8 c  e" L) B' R+ J* m, `( ~% e* S! L
พระองค์ได้บรรลุพระโสดาบัน เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา และหลังจากการถวายกลันทกนิวาปสถานไม่นาน อารามแห่งนี้ก็ได้ใช้เป็นสถานที่สำหรับพระสงฆ์ประชุมจาตุรงคสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา อันเป็นเหตุการณ์สำคัญใน
; j6 ~8 j1 h$ M2 o7 {' T5 [1 d' @, @4 \1 N, \' n
วันมาฆบูชา+ ^9 @0 b9 m% R6 g" }# ~9 e
* Q- [, i6 D( |5 c
วัดเวฬุวันหลังการปรินิพพาน1 T: L  Q  l9 r! o, l* k
หลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน วัดเวฬุวันได้รับการดูแลมาตลอด โดยเฉพาะมูลคันธกุฎีที่มีพระสงฆ์เฝ้าดูแลทำการปัดกวาดเช็ดถูปูลาดอาสนะและปฏิบัติต่อสถานที่ ๆ พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ทุก ๆ แห่ง เหมือนสมัยที่พระพุทธองค์ทรงพระชนม
3 c2 ^/ }4 a7 S. Q5 F. h
9 i; N- R* W5 @; n6 G9 b. y: Oชีพอยู่มิได้ขาด โดยมีการปฏิบัติเช่นนี้ติดต่อกันกว่าพันปี* j  g* b, z$ |6 U) N5 y

/ f( i: [3 \, p/ {7 g. Uแต่จากเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธหลายครั้งในช่วง พ.ศ. 70 ที่เริ่มจากอำมาตย์และราษฎรพร้อมใจกันถอดกษัตริย์นาคทัสสก์แห่งราชวงศ์ของพระเจ้าพิมพิสารออกจากพระราชบัลลังก์ และยกสุสูนาคอำมาตย์ซึ่งมีเชื้อสายเจ้าลิจฉวีในกรุง8 ^1 s3 I, V+ Z. s) ^& Q+ r
# f2 S' i; f% X3 P; X7 T1 |
เวสาลีแห่งแคว้นวัชชีเก่า ให้เป็นกษัตริย์ตั้งราชวงศ์ใหม่แล้ว พระเจ้าสุสูนาคจึงได้ทำการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองเวสาลีอันเป็นเมืองเดิมของตน และกษัตริย์พระองค์ต่อมาคือพระเจ้ากาลาโศกราช ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุสูนาค 3 e( O* w4 e' s+ q  m
) U* r7 o, D8 T7 N% W
ได้ย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธอีก จากเมืองเวสาลีไปยังเมืองปาตลีบุตร ทำให้เมืองราชคฤห์ถูกลดความสำคัญลงและถูกทิ้งร้าง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้วัดเวฬุวันขาดผู้อุปถัมภ์และถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิงในช่วงพันปีถัดมา# ]  j6 A& |3 d' u! L# j

' d  S4 J2 h: \. m0 [, pโดยปรากฏหลักฐานบันทึกของหลวงจีนฟาเหียน (Fa-hsien) ที่ได้เข้ามาสืบศาสนาในพุทธภูมิในช่วงปี พ.ศ. 942 - 947 ในช่วงรัชสมัยของพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ ๒ (พระเจ้าวิกรมาทิตย์) แห่งราชวงศ์คุปตะ ซึ่งท่านได้บันทึกไว้ว่า เมืองราชคฤห์อยู่
" e/ D* ]1 Q: K0 Q- j
% Q, W1 X1 ~6 nในสภาพปรักหักพัง แต่ยังทันได้เห็นมูลคันธกุฎีวัดเวฬุวันปรากฏอยู่ และยังคงมีพระภิกษุหลายรูปช่วยกันดูแลรักษาปัดกวาดอยู่เป็นประจำ แต่ไม่ปรากฏว่ามีการบันทึกถึงสถานที่เกิดเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตแต่ประการใด7 h/ I3 p; u' n# {0 x( i( Z% ]

5 u# \5 }1 [6 J. bแต่หลังจากนั้นประมาณ 200 ปี วัดเวฬุวันก็ถูกทิ้งร้างไป ตามบันทึกของพระถังซำจั๋ง (Chinese traveler Hiuen-Tsang) ซึ่งได้จาริกมาเมืองราชคฤห์ราวปี พ.ศ. 1300 ซึ่งท่านบันทึกไว้แต่เพียงว่า ท่านได้เห็นแต่เพียงซากมูลคันธกุฎีซึ่งมี
) v" p9 o% i' j% k$ O) A8 v5 O0 K. {
กำแพงและอิฐล้อมรอบอยู่เท่านั้น (ในสมัยนั้นเมืองราชคฤห์โรยราถึงที่สุดแล้ว พระถังซำจั๋งได้แต่เพียงจดตำแหน่งที่ตั้งทิศทางระยะทางของสถูปและโบราณสถานเก่าแก่อื่น ๆ ในเมืองราชคฤห์ไว้มาก ทำให้เป็นประโยชน์แก่นักประวัติศาสตร์และนัก1 n7 g6 j) Q( l& Z0 @) L7 v5 T  ~* M

6 V% I; \1 L" @: Z3 u1 e! K$ eโบราณคดีในการค้นหาโบราณสถานต่าง ๆ ในเมืองราชคฤห์ในปัจจุบัน)# k. k% F+ [, \( i3 t; ~2 L
8 A7 {9 e7 \8 l0 C
จุดแสวงบุญและสภาพของวัดเวฬุวันในปัจจุบัน, R; ]% K) a' y2 |  O
ปัจจุบันหลังถูกทอดทิ้งเป็นเวลากว่าพันปี และได้รับการบูรณะโดยกองโบราณคดีอินเดียในช่วงที่อินเดียยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ วัดเวฬุวัน ยังคงมีเนินดินโบราณสถานที่ยังไม่ได้ขุดค้นอีกมาก สถานที่สำคัญ ๆ ที่พุทธศาสนิกชนในปัจจุบันนิยม
) [. ?% z3 s# h! k; K* M% S* P6 j" E5 Z. D% m! S: N- Q
ไปนมัสการคือ "พระมูลคันธกุฎี" ที่ปัจจุบันยังไม่ได้ทำการขุดค้น เนื่องจากมีกุโบร์ของชาวมุสลิมสร้างทับไว้ข้างบนเนินดิน, "สระกลันทกนิวาป" ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลอินเดียได้ทำการบูรณะใหม่อย่างสวยงาม, และ "ลานจาตุรงคสันนิบาต" อันเป็นลานเล็ก
, z8 C! H) K% \6 _: V4 b
: K' s; F% r# X) ~) D; nๆ มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานพรอยู่กลางซุ้ม ลานนี้เป็นจุดสำคัญที่ชาวพุทธนิยมมาทำการเวียนเทียนสักการะ (ลานนี้เป็นลานที่กองโบราณคดีอินเดียสันนิษฐานว่าพระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในจุดนี้), M, L+ L/ \- K' _' x$ H

9 U& n; j* p/ @' J- p2 \จุดที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา (ลานจาตุรงคสันนิบาต)
: L, j5 Q3 a, U6 Z, H; a! qถึงแม้ว่าเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตจะเป็นเหตุการณ์สำคัญยิ่งที่เกิดในบริเวณวัดเวฬุวันมหาวิหาร แต่ทว่าไม่ปรากฏรายละเอียดในบันทึกของสมณทูตชาวจีนและในพระไตรปิฎกแต่อย่างใดว่าเหตุการณ์ใหญ่นี้เกิดขึ้น ณ จุดใดของวัดเวฬุวัน รวมทั้ง& k" e: G& \# O! u
7 w6 u( I4 b7 \1 n
จากการขุดค้นทางโบราณคดีก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการทำเครื่องหมาย (เสาหิน) หรือสถูประบุสถานที่ประชุมจาตุรงคสันนิบาตไว้แต่อย่างใด (ตามปกติแล้วบริเวณที่เกิดเหตุการณ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา มักจะพบสถูปโบราณหรือเสาหินพระ  t( W% y* Z9 @5 r; K3 G1 D

& V) ~  ?, q+ B6 s) N: R: Dเจ้าอโศกมหาราชสร้างหรือปักไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายสำคัญสำหรับผู้แสวงบุญ) ทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถทราบโดยแน่ชัดว่าเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตเกิดขึ้นในจุดใดของวัด; T' M& T" j# B6 I9 ?# G% J& s

, l8 y# }$ `2 Nในปัจจุบันกองโบราณคดีอินเดียได้แต่เพียงสันนิษฐานว่า "เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดในบริเวณลานด้านทิศตะวันตกของสระกลันทกนิวาป" (โดยสันนิษฐานเอาจากเอกสารหลักฐานว่าเหตุการณ์ดังกล่าวมีพระสงฆ์ประชุมกันมากถึงสองพันกว่ารูป และ+ p+ n/ }- x% V3 B" V- [2 i+ ?7 }, o

0 L" S4 d! L" [1 oเกิดในช่วงที่พระพุทธองค์พึ่งได้ทรงรับถวายอารามแห่งนี้ การประชุมครั้งนั้นคงยังต้องนั่งประชุมกันตามลานในป่าไผ่ เนื่องจากเสนาสนะหรือโรงธรรมสภาขนาดใหญ่ยังคงไม่ได้สร้างขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันลานด้านทิศตะวันตกของสระ
5 n4 M% Z& S4 y: F5 D0 L; h2 @/ h0 c0 T9 @, Y# e3 m
กลันทกนิวาป เป็นลานกว้างลานเดียวในบริเวณวัดที่ไม่มีโบราณสถานอื่นตั้งอยู่) โดยได้นำพระพุทธรูปยืนปางประทานพรไปประดิษฐานไว้บริเวณซุ้มเล็ก ๆ กลางลาน และเรียกว่า "ลานจาตุรงคสันนิบาต" ซึ่งในปัจจุบันก็ยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่าลาน
: `5 k" ~8 z& E2 G$ R8 h6 [# }! b7 Z! O2 @, m4 d
จาตุรงคสันนิบาตที่แท้จริงอยู่ในจุดใด และยังคงมีชาวพุทธบางกลุ่มสร้างซุ้มพระพุทธรูปไว้ในบริเวณอื่นของวัดโดยเชื่อว่าจุดที่ตนสร้างนั้นเป็นลานจาตุรงคสันนิบาตที่แท้จริง แต่พุทธศาสนิกชนชาวไทยส่วนใหญ่ก็เชื่อตามข้อสันนิษฐานของกอง
- G* P) a6 K& `4 e7 P/ q. w* S4 O) V- B$ j& H4 K' m
โบราณคดีอินเดียดังกล่าว โดยนิยมนับถือกันว่าซุ้มพระพุทธรูปกลางลานนี้เป็นจุดสักการะของชาวไทยผู้มาแสวงบุญจุดสำคัญ 1 ใน 2 แห่งของเมืองราชคฤห์ (อีกจุดหนึ่งคือพระมูลคันธกุฎีบนยอดเขาคิชกูฏ)
; ~0 Z9 M: c) ^! y8 t* w( W7 s# o9 J; j6 S/ x
กิจกรรมต่างๆ ที่ควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา
6 L9 s+ G, \- c% \- x# @# t
. b: i- m+ Y3 J& I2 b1 ~ การปฎิบัติตนสำหรับพุทธศาสนาในวันนี้ก็คือ การทำบุญ ตักบาตรในตอนเช้า หรือไม่ก็จัดหาอาหารคาวหวานไปทำบุญฟังเทศน์ที่วัด ตอนบ่ายฟังพระแสดงพระธรรมเทศนา ในตอนกลางคืน จะพากันนำดอกไม้ ธูปเทียน ไปที่วัดเพื่อชุมนุมกันทำพิธี
! _: P' O8 K1 h& w# i
# P" |0 C# P: L6 S. uเวียนเทียน รอบพระอุโบสถ พร้อมกับพระภิกษุสงฆ์โดยเจ้าอาวาสจะนำว่า นะโม ๓ จบ จากนั้นกล่าวคำ ถวาย ดอกไม้ธูปเทียน ทุกคนว่าตาม จบแล้วเดิน เวียนขวา ตลอดเวลาให้ระลึกถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จนครบ ๓ รอบ & V# D: Y. ^8 S8 b* N3 a- F

$ t$ \8 `  z" j6 |7 {0 T1 j9 c  mแล้วนำดอกไม้ ธูปเทียนไปปักบูชาตามที่ทางวัด เตรียมไว้ เป็นอันเสร็จพิธี
+ d- S! }, U& N; T8 S5 D: f' x
. m  K. k$ W: S1 ~ขอบคุณข้อมูลจาก : dhammathai.org,วิกิพีเดีย! S' j  r2 o3 b7 q0 _5 D2 m! n
4 F9 m. x5 U5 G/ o* ]
4 y- k8 h% L, d* N' D9 B
# \9 o4 j( k& d6 S* z& A# G6 X* K
การถือปฏิบัติวันมาฆบูชาในประเทศไทย
9 p- ]4 E0 r5 Z6 l' E8 i2 gพิธีวันมาฆบูชานี้ เดิมทีเดียวในประเทศไทยไม่เคยทำมาก่อน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายไว้ว่าเกิดขึ้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงถือตามแบบของโบราณบัณฑิตที่
9 U# o: O1 W  B+ s2 X0 _# d, O5 n. @! ?. @" O5 Y$ s3 y
ได้นิยมกันว่า วันมาฆะบูรณมี พระจันทร์เสวยฤกษ์มาฆะเต็มบริบูรณ์เป็นวันที่พระอรหันต์สาวกของ พระพุทธเจ้า ๑,๒๕๐ รูป ได้ประชุมกันพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ เรียกว่า- b, N. ]3 Q8 U& c" m$ C. c

* X- i$ X) i8 F8 {จาตุรงคสันนิบาตพระพุทธเจ้าได้ตรัสเทศนาโอวาทปาติโมกข์ ในที่ประชุมสงฆ์เป็นการ ประชุมใหญ่ และเป็นการอัศจรรย์ในพระพุทธศาสนา นักปราชญ์ จึงถือเอาเหตุนั้นประกอบ การสักการบูชาพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์สาวก ๑,๒๕๐ รูปนั้น ให้
. Q1 U8 P& |) s! s2 m3 U; X
8 P/ ]9 Y* K1 G" o1 b& Yเป็นที่ตั้งแห่งความ เลื่อมใสการประกอบพิธีมาฆะบูชา ได้เริ่มในพระบรมมหาราชวังก่อน! a( l. z0 v( x

/ f  u/ J% ~7 \, L: k) Vในสมัยรัชกาลที่ ๔ มีพิธีการพระราชกุศลในเวลาเช้า พระสงฆ์ วัดบวรนิเวศวิหารและ วัดราชประดิษฐ์ ๓๐ รูป ฉันในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เวลาค่ำ เสด็จออกทรงจุด ธูปเทียนเครื่อง มนัสการแล้ว พระสงฆ์สวดทำวัตรเย็นเสร็จแล้ว สวด- R: w# s( W+ p6 S* B; H1 N

% S+ P2 A4 f: cมนต์ต่อไปมี สวดคาถาโอวาทปาติโมกข์ด้วยสวดมนต์ จบทรงจุดเทียนรายตามราวรอบพระอุโบสถ ๑,๒๕๐ เล่ม มีการประโคมอีกครั้งหนึ่งแล้วจึงมีการเทศนา โอวาทปาติโมกข์
- `7 Z: W5 U$ o5 U๑ กัณฑ์เป็นทั้งเทศนาภาษาบาลีและ ภาษาไทย เครื่องกัณฑ์ มีจีวรเนื้อดี ๑ ผืน เงิน ๓ ตำลึง และขนมต่าง ๆ เทศนาจบพระสงฆ์ ซึ่งสวดมนต์ ๓๐ รูป สวดรับการประกอบพระราชกุศลเกี่ยวกับ วันมาฆบูชาในสมัยรัชกาลที่ ๔ นั้น พระบาทสมเด็จพระ
& G+ D+ }& A  t; d1 K# K3 \9 @- `1 n/ ]/ W: ?  J* o+ c2 @: g: g
จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จะเสด็จออกประกอบพิธีด้วยพระองค์เองทุกปีมิได้ขาด สมัยต่อมามีการเว้นบ้าง เช่น รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จออกเองบ้าง มิได้ เสด็จออกเองบ้างเพราะมักเป็นเวลาที่ประสบกับเวลาเสด็จ
- J5 I7 P4 e) @$ \# [1 {
4 K; b1 G( o0 g5 M. q$ Pประพาส หัวเมืองบ่อย ๆ หากถูกคราวเสด็จไปประพาสบางปะอินหรือพระพุทธบาท พระพุทธฉาย พระปฐมเจดีย์ พระแท่นดงรัง ก็จะทรงประกอบพิธีมาฆบูชา ในสถานที่นั้น ๆ ขึ้นอีก ส่วนหนึ่งต่างหากจากในพระบรมมหาราชวังเดิมทีมีการประกอบพิธี/ w2 U9 j9 t" C' [2 m" X: u, E' u
, \! q* g1 n% z/ H' q+ y& ]8 ~
ในพระบรมมหาราชวัง ต่อมาก็ขยายออกไป ให้พุทธบริษัทได้ ปฏิบัติตามอย่างเป็นระบบสืบมาจนปัจจุบัน มีการบูชา ด้วยการเวียนเทียน และบำเพ็ญกุศลต่าง ๆ ส่วนกำหนดวันประกอบพิธีมาฆบูชานั้น ปกติตรงกับวันเพ็ญ เดือน ๓ หากปีใด เป็น
( L7 P. I- L, p) H2 p: W- _9 ~8 T& H& Z5 M4 q% K. c
อธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหนจะเลื่อนไปตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔
& P+ V$ K: D: q( v5 m
0 A- V3 I8 d" H3 `- |; `& K  Q. a/ [. j/ ~( s- t: q
4 Z1 B. \% U2 W' C% h2 Q( o
หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติ
% b. Z, G! S1 g& iหลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ หมายถึง หลักคำสอนคำสำคัญของพระพุทธศาสนาอันเป็นไปเพื่อป้องกัน และแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตเป็นไปเพื่อความหลุดพ้น หรือคำสอน อันเป็นหัวใจพระพุทธศาสนา หลักธรรมประกอบด้วย
. {# N) v, Q" x! @2 i  {, B! a' k( O9 \) E# \: w
หลักการ ๓ อุดมการณ์ ๔ วิธีการ ๖ ดังนี้" r+ s- ]0 E) K" C) j
9 y7 C8 i) ^# R" I) w: v1 v
หลักการ ๓
* M7 l1 h# j) _2 ~๑. การไม่ทำบาปทั้งปวง ได้แก่การงดเว้น การลด ละเลิก ทำบาปทั้งปวง ซึ่งได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแห่งความชั่ว มีสิบประการ อันเป็น2 y( }/ {6 j3 l1 H% J+ j; `' P$ z! ^5 E
ความชั่วทางกาย ทางวาจา และทางใจ ความชั่วทางกาย ได้แก่ การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การประพฤติ ผิดในกาม
/ Q4 M7 M6 Q9 s9 ?% o3 S8 ]ความชั่วทางวาจา ได้แก่ การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดเพ้อเจ้อ
# s$ A; f) ]/ n+ kความชั่วทางใจ ได้แก่ การอยากได้สมบัติของผู้อื่น การผูกพยาบาท และความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม
) p# M8 V  O' J  [( t8 u  E! n3 d  C3 }
๒. การทำกุศลให้ถึงพร้อม ได้แก่ การทำความดีทุกอย่างซึ่งได้แก่ กุศลกรรมบถ ๑๐ เป็นแบบของการทำฝ่ายดีมี ๑๐ อย่าง อันเป็นความดีทางกาย ทางวาจาและทางใจ
& P* C1 ~, O/ [5 y: n: Z
) O+ ?6 B% J/ g6 x0 dความดีทางกาย ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ทำร้ายเบียดเบียนผู้อื่นมีแต่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การไม่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ มาเป็นของตน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และการไม่ประพฤติผิดในกาม
# E8 A8 i4 T- `7 Y6 [การทำความดีทางวาจา ได้แก่ การไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ และไม่พูดเพ้อเจ้อพูดแต่คำจริง พูดคำอ่อนหวานพูดคำให้เกิดความสามัคคีและพูดถูกกาลเทศะ
  c+ ^. a& B2 j& N% q2 wการทำความดีทางใจ ได้แก่ การไม่โลภอยากได้ของของผู้อื่นมีแต่คิดเสียสละ การไม่ผูกอาฆาตพยาบาทมีแต่คิดเมตตาและ ปราถนาดีและมีความเห็นความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
3 D! K) |$ x! _0 A. W+ P; q4 P; I- N6 g& b% ^
๓. การทำจิตให้ผ่องใส ได้แก่ การทำจิตของตนให้ผ่องใส ปราศจากนวรณ์ซึ่งเป็นเครื่องขัดขวางจิตไม่ให้เข้าถึงความสงบ มี ๕ ประการ ได้แก่$ h8 j" o6 B% l( X
, i1 \) N' r' I" N$ R
๑. ความพอใจในกาม (กามฉันทะ)$ b4 w7 P3 j4 Y( S5 P
๒. ความอาฆาตพยาบาท (พยาบาท)
4 e% i2 F# J. h4 f) k/ S๓. ความหดหู่ท้อแท้ ง่วงเหงาหาวนอน (ถีนะมิทธะ)/ I# P( }$ F. I! b6 c5 Z# Z: S1 {
๔. ความฟุ้งซ่าน รำคาญ (อุทธัจจะกุกกุจจะ) และ
/ A$ C1 m) O+ _) J3 }+ Y๕. ความลังเลสงสัย (วิกิจฉา) เช่น สงสัยในการทำความดีความชั่ว ว่ามีผลจริงหรือไม่ วิธีการทำจิตให้ปฏิบัติสมถะผ่องใส ที่แท้จริงเกิดขึ้นจากการละบาปทั้งปวง ด้วยการถือศืลและบำเพ็ญกุศล ให้ถึงพร้อมด้วยการ และวิปัสสนา จนได้บรรลุอรหัตผล . e/ j: T+ b6 {9 ^: i8 p8 r, S4 m

1 U3 |" d" e. T" h- A2 I. oอันเป็นความผ่องใสที่แท้จริง
' O, j/ t, {4 @' b- w! J9 }1 }
$ c& ~1 {) W& ~5 ]# M- _( S7 Tอุดมการณ์ ๔
* i1 ~: [1 ?1 f# l) o4 R, V; v๑. ความอดทน ได้แก่ ความอดกลั้น ไม่ทำบาปทั้งทางกาย วาจา ใจ& V8 v; s4 \! W
๒. ความไม่เบียดเบียน ได้แก่ การงดเว้นจากการทำร้าย รบกวน หรือ เบียดเบียนผู้อื่น
8 Y8 d2 {2 _* g9 Z๓. ความสงบ ได้แก่ ปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ
: b" V! ~! Q$ q/ i1 i1 I! G๔. นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นได้จาการดำเนินชีวิตตามมรรคมีองค์ ๘
8 ?9 G7 k/ A* b' \7 A  S# _. J& ?! D0 S- ?
วิธีการ ๖$ y3 L1 V3 c- J' t% N  F& u
๑. ไม่ว่าร้าย ได้แก่ ไม่กล่าวให้ร้ายหรือ กล่าวโจมตีใคร- Q* w4 m0 }4 B0 {$ f+ x& T
๒. ไม่ทำร้าย ได้แก่ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
8 y4 L) D* h3 h8 R# a6 M3 o๓. สำรวมในปาติโมกข์ ได้แก่ ความเคารพระเบียบวินัย กฎกติกา กฎหมาย รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีของสังคม6 e; z1 z$ e  P, v% \/ s$ g
๔. รู้จักประมาณ ได้แก่ รู้จักความพอดีในการบริโภคอาหารหรือการใช้สอยสิ่งต่าง ๆ
" u( g5 d8 Q/ g) a' \1 _: i๕. อยู่ในสถานที่ที่สงัด ได้แก่ อยู่ในสถานที่สงบมีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
9 C$ N. J" z. g% F. G) T4 E* B" s๖. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ ได้แก่ฝึกหัดชำระจิตให้สงบมีสุขภาพคุณภาพและประสิทธิ
3 P* B" o& x9 Bภาพที่ดี; d1 E; `. L7 I2 v" q+ Q: t9 i. t
; x0 M3 H0 b; Q4 M- W! T) }: x
ขอบคุณข้อมูลจาก : dhammajak.net/budday/maka.php) R: m7 e4 x% G
8 x0 T& r5 C# o- L
ที่มา : http://campus.sanook.com/910849/วันมาฆบูชา/




ยินดีต้อนรับสู่ แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน" (http://www.dannipparn.com/) Powered by Discuz! X1.5