แดนนิพพาน "โมทนาทุกดวงจิตถึงซึ่งแดนนิพพาน"

 

   

ค้นหา
เจ้าของ: มารน้อย
go

ตอบคุณจิดาภา [คัดลอกลิงค์]

Rank: 1

ดิฉันอยากรบกวนถามคุณมารน้อยเกี่ยวกับการอุทิศบุญถวายสังฆทานหลังเที่ยงค่ะ ดิฉันจะถวายสังฆทานให้หมา แมว พ่อ พี่ หลาน ฯ เมื่อก่อนพอทำแล้ว(ซึ่งคิดว่าหลังเที่ยงตลอด) ก็เห็นทุกคนไปสวรรค์หมด บ้างก็ไปดาวดึงส์ บ้างก็ชั้นจาตุมหาราช และตอนนี้ก็เห็นพวกเขายังอยู่ มีวิมาร มีเสื้อผ้า การถวายสังฆทานหลังเที่ยงจะมีผลกับพวกเขาอย่างไรคะ เพราะถ้าไปถวายสังฆทานที่ซอยสายลม ก็หลังเที่ยงทุกที(ไม่แน่ใจว่าเคยมีก่อนเที่ยงไหม) รอจนฝึกมโนมยิทธิเสร็จจึงถวาย ถวายช่วงเช้าไม่ได้ค่ะอยู่ต่างจังหวัดไปไม่ทัน จะถามพวกเขาโดยตรงก็ทำไม่ได้ค่ะ เพราะมโนมยิทธิไม่แจ่มใส ไม่เคยได้ยินเสียงสักครั้งค่ะ แล้วถ้าไม่ควรอุทิศบุญถวายสังฆทานหลังเที่ยง ควรใช้เบิกบุญอุทิศให้ในภายหลังหรือเปล่าคะ

Rank: 1

2#
มารน้อย โพสต์เมื่อ 2013-8-13 09:59 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
จากคำถาม ของคุณจิดาภา ผมหาข้อมูลมาให้แล้วครับ เรื่องการถวายสังฆทาน หลังเวลาเที่ยง มีผลอย่างไร จากข้อมุลนี้ผมขอตอบแบบนี้ครับ การถวายสังฆทาน คำว่าสังฆทานคือ การทำทานให้แก่หมู่สงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปโดยไม่เจาะจงรูปใดรูปหนึ่งเป็นพิเศษ หรือมีการตั้งองค์แทนคณะสงฆ์เพื่อรับ ทานนั้นๆ ก็ได้ สังฆทานไม่จำเป็นต้องเป็นอาหารอย่างเดียว จะเป็นสิ่งของอื่นที่หมู่สงฆ์สามารถใช้ประโยชน์ก็ได้ จะเป็นสิ่งอื่นก็ไม่ผิด  ผมเองก็เคยถวายเครื่องมือช่างให้กับพระในวัด เพื่อที่ท่านสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในวัดต่อไป  ทีนี้ประเด็นที่ว่าเราถวายสังฆทานในตอนหลังเทียงได้ไหม  เรื่องนี้ตอบได้ทันทีเลยว่าได้ครับ แต่(มีแต่)สังฆทานนั้นต้องไม่มีอาหาร เพราะหากเป็นอาหารพระท่านไม่สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารนั้นได้ มันผิดวินัย  หากจะถามว่าสังฆทานที่ดี(ผีหรือวิญญาณชอบ) ต้องเป็นอย่างไร ต้องประกอบด้วยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และ พระพุทธรูป สิ่งเหล่านี้วิญญาณของผู้ที่ตายไปแล้วชอบ เพราะนำไปใช้ได้เลย แต่ทีนี้มีเรื่องอาหารเข้ามาเกี่ยวข้อง เราควรถวายพระท่านก่อนเที่ยงจึงจะดี พระท่านจะไม่ผิดวินัย  ผมต้องขอโมทนากับคุณจิดาภาด้วยที่ได้มโน แล้วรู้ว่าผู้ที่ตายไปแล้วเขาสะบายกันหมด  มีเรื่องหนึ่งที่เกิดกับตัวผมเองขอเล่าแบบย่อๆ ว่า ครั้งที่คุณตาของผมตายใหม่ๆ ผมได้ถวายเงินพระ พร้อมกับอุทิศบุญ ผลปรากฎว่า ผลบุญนั้นเป็นวิมานสวยงาม แต่ตาผมใช้ไม่ได้ เข้าไปก็ปรากฏเป็นไฟลุกท่วมเลย  จากการสอบถามผลบุญนั้นปนบาปด้วเลยไม่สามารถใช้ได้ ทุกวันนี้วิมานนั้นก้ยังอยู่แต่ไม่สามารถใช้ได้  แต่สังฆทานนี่พระท่านไม่ได้ใช้อาหารผลเลยไม่มากนัก แต่ผลบุญก็น้อยกว่าเมื่อเปรียบกับเราถวายก่อนเพลครับ

Rank: 1

3#
มารน้อย โพสต์เมื่อ 2013-8-13 19:48 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
ขอบคุณ คุณธนาด้วยที่ร่วมวงสนทนาด้วยครับ ที่แรกผมว่าจะเงียบเพราะผมไม่รู้ว่าจะนำมะพร้าวห้าวมาขายสวนไหม พอดีอย่างนี้ครับจากที่ผมพอมีความรู้ที่ได้ศึกษามาปัญญาก็เท่าหางอึ่งตลอด๔ปีที่ได้มีกลุ่มญาติธรรมที่ได้ทิพย์ญาณเหมือนกันจำนวนหนึ่ง   พวกเราก็อยากรู้ว่าให้เงินพระบุญหรือบาป เลยพิสูจน์ด้วยหลากหลายวิธีด้วยกัน เอาอย่างนี้ก่อนอื่นอธิบายอย่างนี้ก่อนว่าการถวายเงินให้แก่พระภิกษุ เป็นบุญหรือบาปนั้น มีอยู่สองกรณี 7 l6 G) g! V/ O: @
๑. เราถวายเงินให้แก่พระภิกษุโดยให้เป็นสินส่วนตัว ของท่าน แบบนี้บาปอันนี้เนื่องจากสาเหตุเพราะมีวินัยบัญญัติไว้ว่า "ห้ามภิกษุเก็บเงินไว้แม้แต่ ๑ มาสก" สิ่งนี้พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้ ประมาณ ๒,๕๐๐ กว่าปีมาแล้ว ดังนั้นการถวายเงินพระจึงเป็นการสนับสนุนให้พระผิดศีล หรือวินัยสงฆ์ ในทางโลกหากเราสนับสนุนให้ผู้อื่นกระทำผิดกฎหมายเรายังต้องรับโทษทางคดีความเหมือนกัน นั้นก็เช่นกันในทางธรรมหากเราสนับสนุนพระให้ทำผิดศีลหรือข้อปฏิบัติจะไม่ผิดได้อย่างไร งั้นเราถวายเงินพระไม่ได้หรืออย่างไร แต่เราก็ปฎิเสธไม่ได้ว่าโลกปัจจุบันนี้เงินเป็นสิ่งสำคัญ (ผมเองก็ยังต้องการ) ดังนั้นเวลาถวายเงินพระก็ถวายไปเลยไม่ต้องคิดว่าเป้นอย่างไรต่อ ไม่ต้องอุทิศให้กับใครทั้งนั้น  เพราะเป็นเรื่องของ มนุษยธรรม ไม่ต้องคิดอะไรมาก
. E: V/ L: S. C% m๒. เราจะถวายเงินให้พระอย่างไรไม่บาป พระบางวัดท่านจะตั้งเงินกองกลางสำหรับสงฆ์(ไม่ได้เป็นส่วนตัวใครคนใดคนหนึ่ง) พระรูปใดจะเดินทางก็มาเบิกไป เราก็ถวายเป็นเงินกองกลางก็ได้ หรือตามตู้บริจาค ก็ได้เพราะตู้ไม่หลอก ส่วนใครจะไปใช้อย่างไรนั้นก็เป็นเรื่องของเขา
5 ~+ D) z. L9 \( @$ H$ [ พระที่ท่านเคร่งครัดวินัยท่านจะไม่ยอมให้ตัวท่านมีสิ่งใดผิดเลย; t7 j: A" p" y
อีกเรื่องหนึ่ง การทำบุญด้วยอาหารแห้ง สิ่งนี้ก็ไม่ดีเช่นกัน ถามว่าทำไม มีบัญญัติเช่นกันสำหรับเรื่องนี้ว่า "ภิกษุห้ามเก็บอาหารไว้ค้างคืน" การถวายอาหารแห้งเลยไม่สมควร งั้นทำอย่างไร ก็นำไปให้ที่โรงครัว ให้แม่ครัวเขาดำเนินการ จะได้ไม่ผิดวินัย ควรถวายของที่สามารถฉันท์ได้ทันที เช่น นม น้ำผลไม้ หรือในเวลาเย็น นมถั่วเหลืองยังไม่สมควรเลย เพราะถั่วเหลืองถือเป็นอาหาร  ผมอาจจะผิดมาตลอดก็ได้  ก็ลองพิจารณาก็แล้วกันว่า สิ่งใดเหมาะสิ่งใดควร ส่วนเรื่องทำบุญไม่ว่าคุณจะอุทิศให้ใครหรือไม่ผลบุญนั้นก็ตอบแทนคุณทันทีอยู่แล้ว  ไม่ต้องเชื่อผมให้พิสูจน์เอง พุทธองค์ท่านทรงตรัสไว้ อย่าเชื่อในสิ่งที่ทำสืบต่อๆกันมา อย่าเชื่อในหนังสือ อย่าเชื่อสิ่งที่ครูสอน+ m+ x% W( H! k- I0 ?

Rank: 1

4#
มารน้อย โพสต์เมื่อ 2013-8-14 12:56 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
ตอบกระทู้ visutti ตั้งกระทู้
* b- Z* g/ Y7 \) ]  V9 Y
7 p/ b! k6 ~- P$ i/ I- {! y3 g

การสังคายนาครั้งที่ ๒
7 r/ M( K. D$ A9 c! Y4 v7 uเมื่อพุทธศักราช ๑๐๐
) Y' s. }9 W: I. Cณ วาลิการาม เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี

          การสังคายนาครั้งที่ ๒ ปรารถพวกภิกษุวัชชีบุตรกแสดงวัตถุ ๑๐ ประการนอกธรรมนอกวินัย พระยศกากัณฑกบุตรเป็นผู้ชักชวน ได้พระอรหันต์ ๗๐๐ รูป พระเรวตะเป็นผู้ถาม พระสัพพกามีเป็นผู้วิสัชนา ได้พระอรหันต์ ๗๐๐ รูป พระเรวตะเป็นผู้ถาม พระสัพพกามีเป็นผู้สิสัชนาประชุมทำที่วาลิการาม เมืองเวสาลี เมื่อุทธศักราช ๑๐๐ โดยพระกาลาโศกราชเป็นศาสนูปภัมภก์ สิ้นเวลา ๘ เดือนจึงเสร็จ; l# e& ~+ K% ]' K
          หลังจากพระพุทธเจ้าได้เสด็จดับขันธปรินิพพานผ่านไปได้ ๑๐๐ ปี พระภิกษุที่จำพรรษาในเมืองเวสาลี ได้ประพฤติผิดวินัย ๑๐ ประการเรียกว่าวัตถุ ๑๐ ประการคือ
' U( o9 H2 Z. v          ๑. ภิกษุจะเก็บเกลือไว้ในเขนง (ภาชนะที่ทำด้วยเขาสัตว์) แล้วนำไปฉันปนกับอาหารได้* I; I6 E+ }  B
          ๒. ภิกษุจะฉันอาหารหลังจากตะวันบ่ายผ่านไปเพียง ๒ องคุลี ' `" ~7 r8 A3 G% g5 o7 L0 U4 t$ v
          ๓. ภิกษุฉันภัตตาหารในวัดเสร็จแล้ว ห้ามภัตแล้วเข้าไปสู่บ้านจะฉันอาหารที่ไม่เป็นเดนและไม่ได้ทำวันัยกรรมตามพระวินัยได้
2 K/ K3 b$ |! ~0 }) z; b! z7 l2 p+ @          ๔. ในอาวาสเดียวมีสีมาใหญ่ ภิกษุจะแยกกันทำอุโบสถได้
: a! y+ v% V; B0 S: Q( ?          ๕. ในเวลาทำอุโบสถ แม้ว่าพระจะเข้าประชุมยังไม่พร้อมกันจะทำอุโบสถไปก่อนได้ โดยให้ผู้มาทีหลังขออนุมัติเอาเองได้
5 o/ J; [; p: ?- T! L) d; z  P          ๖. การประพฤติปฏิบัติตามพระอุปัชฌายะอาจารย์ ไม่ว่าจะผิดหรือถูกพระวินัยก็ตาม ย่อมเป็นการกระทำที่สมควรเสมอ. I- y- A( }: n% B0 q
          ๗. นมส้มที่แปรมาจากนมสดแต่ยังไม่กลายเป็นทธิ(นมเปรี้ยว)ภิกษุฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว ห้ามภัตแล้ว จะฉันนมนั้นทั้งที่ยังไม่ได้ทำวินัยกรรม หรือทำให้เดนตามพระวินัยก็ได้$ ~8 C0 \8 L) E! t& l
          ๘. สุราที่ทำใหม่ ๆ ยังมีสีแดง เหมือนสีเท้านกพิราบ ยังไม่เป็นสุราเต็มที่ ภิกษุจะฉันก็ได้0 A. E; ?: f2 i3 H
          ๙. ผ้าปูนั่งคือนิสีทนะอันไม่มีชาย ภิกษุจะบริโภค ใช้สอยก็ได้* a' ^0 ]) g3 W- [- d- l, x: g7 j
          ๑๐. ภิกษุรับและยินดีในทองเงินที่เขาถวายหาเป็นอาบัติไม่2 p" T/ K" t' V3 D0 B
          ต่อมาพระเถระอรหันต์ รูปหนึ่งชื่อพระยสกากัณฑกบุตร จากเมืองโกสัมพีได้ไปที่เมืองเวสาลี ได้พบเห็นพระภิกษุวัชชีบุตรชาวเมืองเวสาลี นำถาดทองสำริดเต็มด้วยน้ำ นำมาวางไว้ที่โรงอุโบสถ แล้วประกาศเชิญชวนให้ชาวบ้านบริจาคเงินใส่ลงในถาดนั้น โดยบอกว่าพระมีความต้องการด้วยเงินทอง แม้พระยสเถระจะห้ามปรามไม่ให้มีการถวายเงินทองในทำนองนั้น พระภิกษุวัชชีบุตรก็ไม่เชื่อฟังชาวบ้านเองก็คงถวายตามที่เคยปฏิบัติมา พระเถระจึงตำหนิทั้งพระวัชชีบุตรและชาวบ้าน ที่ถวายเงินทองและรับเงินทองในลักษณะนั้นเมื่อพระภิกษุวัชชีบุตรได้รับเงินแล้ว นำมาแจกกันตามลำดับพรรษานำส่วนของพระยสการัณฑบุตรมาถวายท่าน พระเถระไม่ยอมรับและตำหนิอีก
6 `# {8 r% S/ Q* P          ภิกษุวัชชีบุตรไม่พอในที่พระเถระไม่ยอมรับตำหนิ จึงประชุมกันฉวยโอกาสลงปฏสาราณียกรรม คือการลงโทษให้ไปขอขมาคฤหัสถ์โดยกล่าวว่าพระเถระรุกรานชาวบ้าน ซึ่งพระเถระก็ยิยยอมไปขอขมาโดยนำภิกษุอนุฑูตไปเป็นพยานด้วย เมื่อไปถึงสำนักของอุบาสก พระเถระได้ชี้แจงพระวินัยให้ฟัง และบอกให้ชาวบ้านเหล่านั้นทราบว่า การกระทำของพระภิกษุวัชชีบุตรเป็นความผิด โดยยกเอาพระพุทธภาษิตที่พระพุทธเจ้าทรงไว้ความว่า
1 x; [* m! P/ w0 |          "พระจันทร์และพระอาทิตย์ไม่ได้ร้อนแรงและรุ่งเรืองด้วยรัศมีเพราะโทษมลทิน ๔ ประการ คือ หมอก ควัน ธุลี และอสุรินทราหู กำบังฉันใด ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ จะไม่มีตบะรุ่งเรืองด้วยศีล เพราะโทษมลทิน ๔ ประการปิดบังไว้ คือ ดื่มสุราเมรัย เสพเมถุนธรรม ยินดีรับเงินและทองอันเป็นเหมือนภิกษุนั้นยินดีบริโภคซึ่งกามคุณ และภิกษุเลี้ยงชีพในทางมิชอบด้วย เวชชกรรม กุลทูสกะ (ประจบเอาใจคฤหัสถ์ด้วยอาการอันผิดวินัย) อเนสนา (การหาลี้ยงชีพในทางที่ไม่สมควรภิกษุ) และวิญญัติ (ขอสิ่งของต่อคฤหัสถ์ผู้ที่ไม่ญาติ ผู้ไม่ใช่คนปวารณา) พร้อมด้วยกล่าวอวดอตตริมนุษย์ธรรม อันไม่มีจริง"1 h: T$ u& ?4 z( v3 |* y2 b
          เมื่อพระยสกากัณฑกบุตรชี้แจง ให้อุบาสกอุบาสิกาเข้าใจแล้ว คนเหล่านั้นเกิดความเลื่อมใสพระเถระ อาราธนาให้ท่านอยู่จำพรรษา ณ วาลการาม โดยพวกเขาจะอุปฐากบำรุงและได้อาศัยท่านบำเพ็ญกุศลต่อไป ฝ่ายภิกษุที่เป็นอนุฑูตไปกับพระเถระ ได้กลับมาแจ้งเรื่องทั้งปวงให้ภิกษุวัชชีบุตรทราบ ภิกษุวัชชีบุตรจะใช้พวกมากบีบบังคับพระเถระด้วยการลงอุปเขปนียกรรม (ตัดสิทธิแห่งภิกษุชั่วคราว) แก่ท่านได้พากันยกพวกไปล้อมกุฏิของพระเถระ แต่พระเถระทราบล่วงหน้าเสียก่อนจึงได้หลบออกไปจากที่นั้น  y6 m; `9 e/ D  b
          พระยาสกากัณฑกบุตรพิจารณาเห็นว่า เรื่องนี้หากปล่อยไว้เนิ่นนานไป พระธรรมวินัยจะเสื่อมถอยลง พวกอธรรมวาทีอวินัยวาทีได้พวกแล้วจักเจริญขึ้น จึงได้ไปเมองปาฐา เมืองอวันตี และทักขิณาบถแจ้งให้พระที่อยู่ในเมืองนั้น ๆ ทราบ เพื่อจะได้ร่วมกันแก้ไข และได้ไปเรียนให้พระสาณสัมภูตวาสี ซึ่งพำนักอยู่ ณ อโหคังคบบรรพตทราบและขอการวินิจฉัยจากพระเถระ พระสาณสัมภูตวาสีมีความเห็นเช่นเดียวกับพระยาสกากัณฑกบุตรทุกประการ* j5 ?8 t) y$ H9 t5 E  ]
          ในที่สุดพระเถระอรหันต์จากเมืองปาฐา ๖๐ รูป จากแคว้นอวัตีและทักขิณาบถ ๘๐ รูป ได้ประชุมร่วมกับพระสาณสัมภูตวาสีและพระยสกากัณฑกบุตร ณ อโหคังคบพรรพต มติของที่ประชุมเห็นร่วมกันว่าเรื่องนี้จะต้องมีการชำระกันให้เรียบร้อย โดยตกลงให้ไปอาราธนาพระเรวตเถระ ซึ่งเป้นพระอรหันต์ที่เป็นพหูสูตร ชำนาญในพระวินัยทรงธรรมวินัยมาติกาฉลาดเฉียบแหลม มีความละอายบาปรังเกียจบาปใคร่ต่อสิขาและเป็นนักปราชญ์ ให้เป็นประธานในการวินิจฉัยตัดสินเรื่องวัตถุ ทั้ง ๑๐ ประการนี้" I6 r3 W  D1 Y2 ]/ H& V
          พระสาณสัมภูตวาสีได้นำเรื่องวัตถุ ๑๐ ประการ เรียนถวายให้พระเรวตเถระทราบ และขอให้ท่านวินิจฉันทีละข้อ ปรากฏว่าทุกข้อที่ภิกษุวัชชีบุตรกระทำนั้น เป็นความผิดทางวินัยทั้งหมด จึงตกลงร่วมกันที่จะชำระเรื่องนี้ และจัดการสังคายนาพระธรรมวินัยทั้งหมด จึงตกลงร่วมกันที่จะชำระเรื่องนี้ และจัดการสังคายนาพระธรรมวินัยตามที่พระสังคีติกาจารย์ได้กระทำมาแล้วในคราวสังคายนา
% L& @8 `; `9 ~) e* Z          ในที่สุดที่ประชุมของพระอรหันต์ทั้งหลายได้ตกลงกันว่า อธิกรณ์ (เรื่องที่สงฆ์ต้องดำเนินการ) เกิดขึ้นในที่ใด ควรไปจัดการระงับในที่นั้นโดยพระเรวตเถระได้ประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ขอให้สงฆ์ระงับอธิกรณ์ด้วยอพุพาหิกา คือ การยกอธิกรณ์ไปชำระในที่เกิดอธิกรณ์ สงฆได้คัดเลือกพระเถระ ๘ รูปคือ
0 B( N3 ~4 Z4 [7 Z          - พระสัพพากามีเถระ พระสาฬหเถระ พระขุชชโสภิตเถระ พระวาสภคามีเถระทำหน้าที่แทนฝ่ายปราจีนคือพวกวัชชีบุตร ทำหน้าที่ในการวินิจฉัยอธิกรณ์
* q& S6 u& i+ W6 P& T  X' `1 V          - พระเรวตเถระ พระสาณสัมภูตวาสี พระยสกากัณฑกบุตร เถระพระสุมนเถระเป็นตัวแทนฝ่ายเมืองปาฐา ทำหน้าที่เป็นตัวแทนฝ่ายเมืองปาฐา ทำน้าที่เป็นตัวแทนฝ่ายสงฆ์ธรรมวาที มีหน้าที่ในการเสนออธิกรณ์ต่อสงฆ์  L! i6 j1 n* h- p( }/ A. l4 R
          สงฆ์ได้มอบหมายการสวดปาติโมกข์ การจัดแจงเสนาเสนะให้เป็นหน้าที่ของพระอชิตะ ซึ่งพรรษาได้ ๑๐ พรรษา และตกลงเลือกเอาวาลิการามหรือวาลุการาม เมืองเวสาลี อันเป้นที่เกิดเรื่องวัตถุ ๑๐ ประการ เป็นศิษย์ของพระอนุรุทธเถระ อีก ๖ รูป เป้นศิษย์ของพระอานนท์เถระซึ่งเป็นสังคีติกาจารย์สำคัญในราวปฐมสังคายนา
# q. K9 s  U  y) i. q* s4 D9 y          เมื่อพระเจ้ากาลาโศกราชรับสั่งให้พระสงฆ์ทัเง ๒ ฝ่ายประชุมร่วมกัน และขอให้แต่ละฝ่ายแถลงเหตุผลให้ทราบ ทรงโปรดในเหตุผลของฝ่ายพระอรหันต์ทั้งหลาย จึงปวารณาพระองค์ที่จะให้การอุปถัมภ์ฝ่ายอาณาจักรทุกประการ และโปรดให้ชำระมลทินพระศาสนา พร้อมด้วยการทำทุติยสังคายนา (การร้อยกรองพระธรรมวินัยครั้งที่ ๒) ที่วาลุการาม เมืองเวสาลี พระอรหันต์เข้าร่วม ๗๐๐ รูปโดยมีการทำตามลำดับดังนี้0 D* O+ a) I% e: C
          ๑. พระเถระที่ได้กำหนดหน้าที่กันฝ่ายละ ๔ รูปนั้น พระเรวตเถระเอาวัตถุ ๑๐ ประการขึ้นมาถามทีละข้อ พระสัพพากามีเถระได้ตอบไปตามลำดัสว่า2 ~; x0 J  l8 x, E* Q
          ๑.๑ การเก็บเกลือไว้ในแขนง โดยตั้งใจว่าจะใส่ลงในอาหารที่จืดฉันเป้นอาบัติปาจิตตีย์ (จัดไว้ในจำพวกอาบัติเบา พ้นได้ด้วยการแสดง) เพราะการสะสมอาหารตามโภชนสิกขาบท8 n7 B+ Z$ W$ E
          ๑.๒ การฉันโภชนะในเวลาวิกาลเมื่อตะวันบ่ายคล้อยไปแล้ว ถึง ๒ องคุลี ผิดต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันโภชนะในยามวิกาล% O0 T$ [5 K) W
          ๑.๓ ภิกษุฉันอาหารเสร็จแล้วคิดว่าจักฉันอาหารเข้าไปในบ้านแล้วฉันโภชนะที่เป็นอนติริตตะ (อาหารซึ่งไม่เป็นเดน ที่ว่าเป็นเดนมี ๒ คือ เป็นเดนภิกษุไข้ ๑ เป็นของที่ภิกษุทำให้เป็นเดน ๑) ผิดเป็นอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารที่ไม่เป็นเดนภิกษุไข้ และไม่ได้ทำวินัยกรรมก่อน3 z- l0 T& o% y2 Q  y% d
          ๑.๔ สงฆ์ทำสังฆกรรมด้วยคิดว่าให้พวกมาทีหลังอนุมัติทั่งที่ยังประชุมไม่พร้อมหน้ากัน ผิดหลักที่ทรงบัญญัติไว้ในจัมเปยขันธกะ ใครทำต้องอาบัติทุกกฏ
8 {+ g4 ]' W' g; z! K+ Y' ~; ?          ๑.๕ อาวาสแห่งเดียวมีสีมาเดียวเท่านั้น ภิกษุจะแยกกันทำอุโบสถสังฆกรรมไม่ได้ ผิดหลักที่สรงบัญญัติไว้ในอุปโบสถขันธกะ ใครขืนทำต้องอาบัติทุกกฏ
1 N- R  Y9 J  M( m/ G          ๑.๖ การประพฤติปฏิบัติด้วยความเข้าใจว่าอุปัชฌาย์อาจจารย์ของเราเคยประพฤติมาอย่างนี้ ไม่ถูกต้องนัก เพราะท่านเหล่านั้นอาจจะประพฤติผิดหรือถูก ก็ได้ ต้องยึดหลักพระวินัยจึงจะสมควร
  {7 w# h7 A, v7 J4 |! n7 u          ๑.๗ นมส้มที่ละความเป็นนมสดไปแล้ว แต่ยังไม่กลายเป็นทธิภิกษุฉันภัตตาหารส้มห้ามภัตรแล้ว จะดื่มนมนั้นอันไม่เป็นเดนภิกษุไข้หรือยังไม่ทำวินัยกรรมไม่ควรต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารที่เป็นอนติริตตะ
" h  V- ~7 \* g  [" l          ๑.๘ การดื่มสุราอย่างอ่อนที่มีสีเหมือนเท้านกพิราบ ซึ่งยังไม่ถึงความเป็นน้ำเมาไม่ควร เป็นปาจิตตีย์ เพราะดื่มสุราและเมรัย
% T6 C- d0 r, h' V          ๑.๙ ผ้านิสีทนะที่ไม่มีชายภิกษุจะใช้ไม่ควร ต้องอาบัติปาจิตตีย์ซึงต้องตัดเสียจึงแสดงอาบัติตก
) ~+ \6 W! G- P( S8 X          ๑.๑๐ การรับเงินทองหรือยินดีทองเงินที่เขาเก็ไว้เพื่อตนไม่ควรต้องอาบัตินิสสัคคียะ ปาจิตติยะ เพราะรับทองและเงินซึ่งจะต้องสละจึงแสดงอาบัติตก
. N6 g; B: L8 L# I+ ?1 y" y# e          ทุกข้อที่พระสัพพกามีวิสัชชนา ฝ่ายพระเรวตเถระได้เสนอให้สงฆ์ทราบทุกข้อและขอมติจากสงฆ์เพื่อให้ยอมรับว่า# _/ F/ Q4 s. O& R7 s$ T/ F7 C
          "วัตถุเหล่านี้ผิดธรรม ผิดวินัย เป็นการหลีกเลี่ยงต่อคำสอนของพระพุทธเจ้า" และได้ขอให้สงฆ์ลงมติทุกครั้นที่พระสัพพากมีเถระตอบ มติของสงฆ์จึงเห็นว่าวัตถุ ๑๐ ประการนี้ ผิดธรรม ผิดวินัย โดยเสียงเอกฉันท์
" K, ~' N, n6 Y( k5 C          ๒. จากนั้นพระเถระทั้งหลายจึงเริ่มสังคายนาพระธรรมวินัยตามแบบที่พระมหากัสสปเถระ เป็นต้น ได้กระทำในคราวปฐมสังคายนากระทำสังคายนาคราวนี้ใช้เวลา ๘ เดือนจึงสำเร็จ/ \1 ]0 M) w8 E. A6 x

Rank: 1

5#
มารน้อย โพสต์เมื่อ 2013-8-14 13:15 |แสดงโพสต์ทั้งหมด
ต้นฉบับโพสต์โดย visutti เมื่อ 2013-8-13 23:51
! I. x# f5 E, jที่คุณมารน้อยอธิบายก็ถูกนะ แต่ก็ถูกในสมัยพุทธกาลนะ  ...
1 R9 U- B$ a" p0 L

ตามที่คุณvisutti) L/ I/ T* a4 Z
ให้ความเห็นเรื่องวัดท่าซุงที่ปฏิบัติมา หากเป็นเรื่องนี้ ผมเองไปวัดท่าซุงเกือบทุกเดือน ไปที่ศาลา ๑๐๐ เมตร ก่อนเพล ก่อนเวลาที่จะมีสอนปฏิบัติกัน จากนั้นผมจะถวายสังฆทาน ชุดละ ๑๐๐ บาท จำนวน ๕ ชุด แล้วอุทิศบุญให้กับนายเวรที่มาถึงตัว ญาติที่ตายไปแล้ว กับคนที่ญาติธรรมฝากมาให้ช่วยเหลือ' T8 O; Y. C+ T/ Q, h/ n
ต่อจากนั้นผมจะทำบุญเหรียญทอง อีก ๕๐๐ บาท โดยแลกเหรียญทอง ต่อจากนั้นมานั่งบริเวณ หน้าสมเด็จองค์ปฐม เพื่อตรวจสอบว่าผู้ที่เราช่วยเหลือเขามาสู่สุขติภพ หรือยัง ถ้าอยู่แล้วผมก็จะไปไหวยังจุดต่างๆ แต่ถ้ายังผมก็จะมาทำที่เหรียญทองอีก จนเขาสบายขึ้น ทำเช่นนี้เป็นประจำ ด้วยความชาญฉลาด ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ฤาษี ลิงดำ ท่านจัดสังฆทานไว้ดีแล้วจนครบ ซึ่งประกอบด้วย อาหาร ผ้าอาบน้ำฝน เครื่องเวชภัณฑ์ และพระพุทธรูป 9 v$ {! U: V' ]+ Y9 L
เมื่อผมมีโอกาส ได้เขียนหนังสือเรื่อง “ประสบการณ์วิญญาณกับการอุทิศบุญ” ก็ได้นำเรื่องของวัดท่าซุงมาเขียนไว้ในบางส่วนบางตอน ด้วยเช่นกัน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นทุกอย่างก็ต้องขึ้นอยู่กับกฎไตรลักษณ์ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ตามกาลเวลา ไม่เว้นแม้กระทั้งตัวเรา

‹ ก่อนหน้า|ถัดไป

สมาชิกที่เพิ่งอ่านหัวข้อนี้

คุณต้องเข้าสู่ระบบก่อนจึงจะสามารถตอบกลับ เข้าสู่ระบบ | สมัครสมาชิก

แดนนิพพาน ดอท คอม

GMT+7, 2025-5-6 15:21 , Processed in 0.042674 second(s), 16 queries .

Powered by Discuz! X1.5

© 2001-2010 Comsenz Inc. Thai Language by DiscuzThai! Team.