[พิธีกรรม] เปรตยะพลี (อ.วิเชียร อยู่เกตุ). s, i$ d3 I/ u: @
เปรตเกิดจากการที่สมัยเป็นมนุษย์ ชอบก่อกรรมทำเข็ญ และผิดศีลธรรมเนืองๆ และเมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว ก็ไปอุบัติเป็นสัตว์นรก ได้รับทุกข์เวทนาเป็นเวลานาน- c n! Y/ {' Q
" M; c/ M% W {! t4 Kครั้นหมดอายุไขจากนรกแล้ว ด้วยเศษของกรรมที่กระทำไว้ยังหลงเหลืออยู่ จึงส่งผลให้ไปเกิดเป็น เปรต อยู่ในพื้นภูมิมนุษย์ โดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่เกิด มีลักษณะและอาการตามนั้นๆ
i6 U( M; H, x+ o7 L h/ E" {! {- c; y
เปรต ตามความเชื่อไทย มีรูปร่างสูงเท่าต้นตาล ผมยาว คอยาว ผอมโซ ผิวดำ ท้องโต มือเท่าใบตาล แต่มีปากเท่ารูเข็ม และเปรตจะหิวอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากกินอะไรไม่ได้มากนัก จึงชอบมาขอส่วนบุญในงานบุญต่างๆ ซึ่งเมื่อสะสมบุญได้แล้วมาเกิดในชาติหน้า จะได้ไม่ต้องทุกข์ทรมานอย่างที่เป็นอยู่: j+ S- G- M h
+ J: {9 Q5 H. d; b
ซึ่งจากลักษณะนี้ ทำให้คำว่าเปรต กลายมาเป็นคำด่าในภาษาไทย ที่หมายถึง คนที่อดยากผอมโซ เที่ยวรบกวนขอเขากิน หรือเมื่อมีใคร ได้โชคลาภก็รีบมาขอแบ่งปัน
, w' G9 f( f/ h) W* I: Y: a4 V, W0 n! }
เปรตในภพภูมิปัจจุบัน เมื่ออดีตที่ผ่านมาอาจจะเคยมีความเกี่ยวข้องกับเรา โดยไม่รู้ตัวก็เป็นได้ อาจจะเคยเป็นบรรพบุรุษของเราในอดีต หรือมีความเกี่ยวพันกันด้านใดด้านหนึ่ง' C+ U8 A* A+ n$ r- S6 ?
& a3 }# L; Y. b0 U) Zความสำคัญของพิธีกรรมพลีเปรตยะ:-
4 F2 R7 |: h2 u" H0 \! n7 A) C/ [0 N P(***ผู้ที่ดำเนินการเป็นพิธีกรนำกล่าว ควรอ่านบทความนี้ทุกครั้งก่อนเริ่มพิธีกรรม***)+ {: r7 X9 s$ T
ในพระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย จตุกนิบาต เล่ม ๒- หน้าที่ ๒๐๑ กล่าวว่า....
6 }" `. c/ B; |0 `0 W) sข้อที่ ๑ "...หมั่นขยัน ทำมาหากินที่ได้มาซึ่งโภคทรัพย์ต่างๆ โดยธรรมนี้กรรมที่สมควร" ข้อที่ ๒ ของอริยะสาวกนั้นเป็นการชอบแก่เหตุแล้ว เป็นการสมควรแล้ว เป็นการใช้โภคทรัพย์ โดยทางที่ควรใช้แล้วอีกข้อหนึ่ง อริยะสาวกย่อมเป็นผู้ ทำพลี ๕ คือ. w! R0 h% Y- q! f) ?* a. \$ o8 r& H4 d
' O* v6 [- Y. s+ V๑. ญาติพลี(ให้การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย)
" j6 Z _: Q. ~5 D- ^% J+ @๒. อติถีพลี (ให้การต้อนรับแขกผู้มาเยือน): s/ D- h5 m) P. u- |
๓. ปุพพะเปรตยะพลี (ทำบุญอุทิศให้แก่ผู้ตายหรือผู้ล่วงลับ)
' [. B+ a9 W0 L๔. ราชพลี (ช่วยเหลือราชการ เช่น การจ่ายภาษี การให้ความเคารพต่อกฏหมายบ้านเมือง เป็นต้น)
7 @8 Q. E- X5 e( N4 Y๕. เทวตาพลี (หมั่นทำบุญกุศลอุทิศให้เทวดา) ) e# O! c* w; `
( f$ L3 `& L$ F% p4 yโดยโภคทรัพย์ที่หามาได้ด้วยความหมั่นขยัน ฯลฯ ที่ได้มาโดยธรรม นี้เป็นกรรมที่สมควรข้อที่ ๓ ของอริยะสาวกนั้นเป็นการชอบแก่เหตุแล้ว เป็นการสมควรแล้ว เป็นการใช้(โภคทรัพย์) โดยทางที่ควรใช้แล้วอีกข้อหนึ่ง อริยะสาวกย่อมตั้งใจบริจาค ทักษิณาทานอย่างสูง ที่จะอำนวยผลดีเลิศ มีสุขเป็นวิบาก เป็นทางสวรรค์ ในสมณะพราหมณ์ทั้งหลาย ผู้เว้นไกลจากความ มัวเมา ประมาท มั่นคงอยู่ในขันติโสรัจจะ ฝึกฝนตนอยู่ผู้เดียว ระงับตนเองอยู่ผู้เดียว ดับกิเลสจนอยู่ผู้เดียว ด้วยโภคทรัพย์ที่ได้มาด้วยความหมั่นขยัน ฯลฯ ที่ได้มาโดยธรรม นี้เป็นกรรมที่สมควรข้อที่ ๔ ของอริยะสาวกนั้น เป็นการชวบแก่เหตุแล้ว เป็นการสมควรแล้วเป็นการใช้โภคทรัพย์ โดยทางที่ควรใช้แล้ว ดูก่อนคฤหบดีอริยะสาวกนั้น ย่อมเป็นผู้ทำกรรมที่สมควร ๔ นี้ด้วยโภคทรัพย์ที่ได้มาด้วยความหมั่นขยัน ที่สะสมขึ้นด้วยกำลังแขนที่ต้องทำงานจนเหงื่อไหล ที่ชอบธรรมที่ได้มาโดยธรรม ดูก่อนคฤหบดี โภคทรัพย์ทั้งหลายของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ถึงความหมดเปลืองไป เว้นเสียจากกรรมที่สมควร ๔ ประการนี้ โภคทรัพย์เหล่านี้เรียกว่าหมดไปโดยไม่ชอบแก่เหตุ& C2 g- K9 I0 [& B5 m" @
หมดไปโดยไม่สมควร ใช้ไปโดยทางที่ไม่ควร.... "
' V8 U/ r: D: V" |0 c: p* c$ l2 ^/ n: |# u- o
จากบทความพระไตรปิฎก ของพระพุทธศาสนา จะเห็นว่าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า ท่านทรงมีเมตตาต่อสรรพสัตว์ทุกหมู่เหล่า และยังทรงสอนให้มีการแผ่เมตตาให้กับเพื่อร่วมโลก ซึ่งอาจจะได้รับวิบากกรรมเก่าไปเกิดในแดนต่างๆ เช่นเดียวกันกับเปรตยะก็เป็นอีกภพหนึ่ง ที่ได้รับกรรมที่ตนได้กระทำไว้ เมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ในโลกมนุษย์. Y1 ^- ^5 F* h- p8 J
/ a" X. n2 \. y) tการทำพิธีเปรตยะพลี โดยให้เครื่องสังเวยกับเปรตผู้ล่วงลับ นับว่าเป็นกุศลอย่างยิ่ง เราชาวพุทธทุกคนควรหาโอกาส ทำบุญอุทิศทานให้เปรตยะเป็นครั้งคราว นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์ ในการเสริมบุญบารมี* x0 Z+ L' ]8 o
5 s) r6 |" W. ^0 {; B/ W1 O3 T; \
3 b( ~8 z; W E( Jเครื่องสังเวยที่คนไทยนิยมใช้ในการทำพลีให้เปรตยะ:-: T* ~+ q8 [/ G# L" t+ y
๑. อาหารคาว-หวาน+ D- A1 K: ^( O [* i
๒. ขนม นมเนย( e# z0 s) y+ Z
๓. เหล้าขาว9 E- N. p/ @/ P% p& H* o8 p5 D H$ A
๔. หมากพลู* O5 w- T. l5 G
๕. น้ำเปล่า ๑ แก้ว. E6 H- b" P0 m2 J
๖. ธูป ๑ ดอก
8 k2 R7 }/ C. \6 V3 C๗. มาลัย ๑ พวง
& q# s( c( m* U; M" X0 B; v+ k) Y
คำบอกล่าวเปรตยะพลี:-# l1 V% m$ F1 b) {
(***ขณะทำพิธีนี้ ตอนถือธูป ๑ ดอก ห้ามยกมือพนมไหว้ เพราะเปรตมีภูมิต่ำกว่ามนุษย์ ให้ยืนเฉยๆ ถือธูปไว้ที่ระดับเหนือสะดือขึ้นมาเล็กน้อย ห้ามยกมือไหว้ตั้งแต่ต้น-จนจบพิธีกรรม เมื่อวางถาดอาหารของพลีเสร็จแล้ว ให้ปักธูปลงกับพื้นดิน (ต้องให้ปลายด้านธูปสัมผัสกับพื้นดิน) และหันหลังให้กับของสังเวยเหล่านั้น พร้อมกับเดินหนีทันที อย่าหันกลับมามองอาหารพลีอีกเด็กขาด พิธีกรรมนี้จะทำที่ไหนก็ได้ เช่น แยกทางสามแพร่ง สี่แพร่ง ตามทางเดินต่างๆ หรือข้างถนน)9 M& u% m+ p# @' ^" N
$ L, i$ Z8 o. w, {% d7 _; C
ข้าพเจ้าชื่อ.................................นามสกุล......................อายุ........ปี สถานที่เกิด..................ข้าพเจ้าได้แต่งบุญบัตรพลีเปรตยะ ให้กับผู้ล่วงลับ มตกะผู้ล่วงลับไปแล้วจากโลกนี้ ทุกหมู่เหล่ารวมถึงอสูรกาย สัมภเวสี อสัมภเวสี สัตว์เดรัจฉานทั้งหลาย รวมถึงเจ้ากรรม และนายเวร ของข้าพเจ้า ที่ได้ทุกขเวทนาอยู่ในขุมนรกหนึ่งขุมนรกใด ขอจงรับเครื่องสังเวย ที่ข้าพเจ้าได้ทำพลี อาหารคาวหวานไปให้ท่านทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายได้รับเครื่องสังเวยจนอิ่มหนำสำราญดีแล้ว โปรดนำสารนี้ไปบอกแก่ผู้ที่ไม่ได้มา ให้รับทราบโดยทั่วกันว่า" `8 P( U. L- k5 A _4 u1 c {
ถ้ามีท่านใดที่เคยมีเวร มีกรรมกับข้าพเจ้า อยู่ในนรกขุมหนึ่งขุมใดก็ดี ขอท่านพญามาร นายขุม นายเวรก็ดี ช่วยแจ้งข่าวไปยังเจ้ากรรม และนายเวรของข้าพเจ้าด้วยว่า ข้าพเจ้าได้แต่งบุญบัตรพลีเปรตยะ พลีไปให้เขาเหล่านั้นแล้ว เพื่อเป็นการขอขมากรรมต่อเขาเหล่านั้น ณ วันนี้ คืนนี้ ขอท่านทั้งหลายอย่ามีเวรมีกรรมกันต่อไปอีกเลย
D& i- j, z& f- B
( Z$ C; b3 M3 n5 I% ?ในวันนี้ข้าพเจ้าชื่อ..................นามสกุล................ได้ตั้งกองบุญ ( ๒๔ กองบุญ , ไหว้พระ, สวดมนต์, นั่งสมาธิ, ฟังธรรม, ถวายผ้าป่า,ทำสังฆทาน ฯลฯ) และได้เปลี่ยนจิตใจเป็นคนดีแล้ว
9 c# A5 R$ O7 L2 @ o) s9 Bท่านใดที่ปรารถนากองบุญ-กุศล กองทาน กองศีล ของข้าพเจ้าที่ได้มีอยู่แล้ว และได้กระทำไปแล้วในวันนี้ ขอกุศลทั้งหลายนี้ จงสำเร็จแด่ท่านทั้งหลายด้วยเถิด ต่อด้วย....: ^% X; V6 f/ y/ T# {# A
" M% |- _! q+ U+ K$ P5 O
คำขอขมาลาโทษต่อเจ้ากรรม และนายเวร:-9 C8 w" \9 N: f8 P: m$ c8 J, ~
กรรมใดที่ข้าพเจ้าได้กระทำไว้ ในอดีตชาติ ปัจจุบันชาติ ด้วยกายกรรม ๓ ฆ่าสัตว์, ลักทรัพย์, ประพฤติผิดในกาม วจีกรรม ๔ ,พูดเท็จ, พูดส่อเสียด, พูดคำหยาบ, พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล, มโนกรรม ๓ , ความโลภะ, ความพยาบาท, การคิดปองร้าย, ขอผลกรรมนั้น จงอย่ามีเวรและกรรมกับข้าพเจ้าอีกเลย บุญกุศลอันใดที่ข้าพเจ้าได้กระทำไว้ในอดีตชาติ และปัจจุบันชาติ ขอจงสำเร็จกับเจ้ากรรม และนายเวร ทั้งหลายด้วยเถิด ขออย่าได้มีเวรและกรรม ซึ่งกันและกันเลย พุทโธอโหสิ ธัมโมอโหสิ สังโฆอโหสิ
# U% S# j8 I+ X B4 c8 R( m- {% [8 b# B7 x: a
6 F, E1 e1 x$ K# Q. a0 E/ iคำอุทิศบุญกุศลให้กับเปรตผู้ล่วงลับจากโลกนี้ไปแล้ว:-
1 P0 J1 Z& T% e) |! eอิทังเม ญาตีนัง โหตุ สุขิตาโหนตุ ญาตะโย สุขิตาโหนตุ ญาตะโย3 q8 [2 v; k* i9 v% c
ขอบุญส่วนนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลาย ของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า มีความสุข
9 \+ ^- Y- N- n5 Kอิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะเปตา
8 `: h7 \% }" g F" x; @/ Aขอบุญส่วนนี้ จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลาย ขอให้เปรตทั้งหลาย มีความสุข
4 E% X+ X* y2 ~6 i) I" r
อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี9 P9 u. }9 X( _. E6 f) j
ขอบุญส่วนนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ขอให้เจ้ากรรมและนายเวรทั้งหลายมีความสุข 2 A- j& ~8 n3 |* }
อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา& i% O9 a; f8 Q! ~
ขอบุญส่วนนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลาย ขอสัตว์ทั้งหลายมีความสุข ทั่วหน้ากันเทอญ * Q. H* w: X' I2 g u8 ]
พุทธังขมามิ ธัมมังขมามิ สังฆังขมามิ ยมมาขมามิ เอหิปิมัง พาเรหิ นัตตัสสะ8 r, B w, D# a. Y' [
6 e! e: K3 c- d |